Saturday, June 15, 2013

อักษรไทยและการผันวรรณยุกต์

ในภาษาไทยมีตัวอักษรที่ใช้แทนเสียง ๓ ชนิด ได้แก่ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์
http://www.complexplaza.com/images/products/P-YOU-132.jpg
พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง
เสียง รูป
๑. ก
๒. ข
๓. ง
๔. จ
๕. ช
๖.ซ
๗.ย
๘.ด
๙.ต
๑๐. ท
๑๑.น
๑๒. ป
๑๓.พ
๑๔.ฟ
๑๕.ม
๑๖.ย
๑๗.ร
๑๘.ล
๑๙.ว
๒๐.ฮ
๒๑.อ

ข ค ฅ ฆ


ช ฉ ฌ
ซ ศ ษ ส
ญ ย
ด ฎ
ต ฏ
ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ
น ณ

พ ผ ภ


ย ญ

ล ฬ

ฮ ห
หน้าที่ของพยัญชนะ
๑. เป็นพยัญชนะต้น า เป็สัตว์ ใกล้สูพันธ์
ก ป ส กล ส พ เป็นพยัญชนะต้น
๒. เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์(ตัวสะกด) เกิเป็ชาหมารันี้หนั
อักษรที่ขีดเส้นใต้เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือตัวสะกด
๓. เป็นอักษรควบ (ควบแท้และ ไม่แท้) ควบแท้ พลาดพลั้ครั้คราว กราวกรู ครูคลุ้คลั่ขวักไขว่
ควบไม่แท้ศร้สร้อย ศรี จริ
ที่เรียกว่าควบแท้เพราะออกเสียงอักษรทั้งสองตัวพร้อมกัน
ที่เรียกควบไม่แท้เพราะไม่ได้ออกเสียงตัวที่ควบด้วย กล่าวคือ
ไม่ได้ออกเสียง ร นั่นเอง
๔. เป็นอักษรนำ-อักษรตาม ตลาด ต อักษรกลาง นำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ต
สนาม ส อักษรสูง นำ น อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ส
ผลิต ผ อักษรสูงนำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ผ
อย่า อยู่ อย่าง อยาก อ อักษรกลาง นำ ย อักษรต่ำ ออกเสียง
วรรณยุกต์ตาม อ
หรู หรา ห อักษรสูง นำ ร อักษรต่ำ ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม ห
หญิง หญ้า ใหญ่ ห อักษรสูง นำ ญอักษรต่ำ ออกเสียง
วรรณยุกต์ตาม ห
๕. เป็นสระ (อ ว ย ร รรค์ รร ทำหน้าที่แทนวิสรรชนีย์ หรือสระอะ
น ว เป็นสระอัวลดรูป
เสี ย เป็นส่วนประกอบของสระเอีย
เสือ มือ อ เป็นสระ และเป็นส่วนหนึ่งของสระ
๖. เป็นตัวการันต์ จันทร์ (ทร์ เป็นตัวการันต์ ลักษณ์ ษณ์ เป็นตัวการันต์
ศิลป์ ป์ เป็นตัวการันต์
อักษรนำ
อักษรควบ
ตัวอย่างคำอักษรนำ-อักษรตาม
ขยะขยาดตลาดเสนอ.........ฉลาดเสมอเฉลิมไฉน
สนิมสนองฉลองไสว..........เถลไถลหวาดหวั่นแสวง
อย่าอยู่อย่างอยากเผยอ..........ตลิ่งตลบเสนอถลอกแถลง
จมูกถนัดขยะแขยง...............สวะสวิงหน่ายแหนงขยับขยาย
หรูหราหรุบหรับ(สา)หร่าย... สลับสลายเสนาะสนุกสนาน
สลิดเสลดสลัดสมาน .. หหวังหลอกเหลนหลานหลากหลาย
ตัวอย่างคำอักษรควบแท้และไม่แท้
กราดเกรี้ยวเกลียวคลื่นคล้าย
ปลุกปลอบควายคลายโกรธเกรี้ยว
ตรวจตรากล้าจริงเพรียว
ขวักไขว่คว่ำกล้ำกลบคลอง
ทรายเศร้าเคล้าคลึงศรี
ทราบโทรมตรีปลีกล้วยพร่อง
ครึ้มครึกตริตรึกตรอง
เปล่าพลิกกลองแปรเปลี่ยนแปลง

อักษร ๓ หมู่ (ไตรยางค์) เสียง สามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา หมายเหตุ
อักษรกลาง
ก จ ด ฎตฏ บ ป อ
คำเป็น
คำตาย


ปา


ป่า
กัด


ป้า
กั้ด


ป๊า
กั๊ด


ป๋า
กั๋ด
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรสูง
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
คำเป็น
คำตาย


-
-

ข่า
ขัด

ข้า
ขั้ด

-
-

ขา
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงจัตวา
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรต่ำ
(อักษรที่เหลือ ๒๔ ตัว)
คำเป็น
คำตายเสียงยาว
คำตายเสียงสั้น


คา
-
-


-
-
-


ค่า
คาด
ค่ะ


ค้า
ค้าด
คะ

-
-
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ หากผัน
ร่วมกับอักษรสูงจะผัน
ได้ครบ ๕ เสียง เช่น
คา ข่า ค่า(ข้า) ค้า ขา
(จัดทำโดย คุณครูภาทิพ ศรีสุทธิ์ ห้องเรียนสีชมพู)

0 comments:

Post a Comment